เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา1/2558 หน่วยการเรียนรู้: ใครเอ่ย
เป้าหมาย(Understanding Goal) :

สามารถปรับตัวเข้ากับวิถีและไว้วางใจต่อเพื่อน ครู สถานที่ และบุคคลที่อยู่ในโรงเรียน รวมทั้งมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านที่สามารถช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวันได้ทั้งการเล่น การแต่งกาย การกิน การนอน การทำงาน ฯลฯ เข้าใจความสัมพันธ์ของตนเองกับสิ่งต่างๆ ได้

วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2557

Main

Mind mapping
 
 Big Question (คำถามหลัก) :  ถ้าไม่มีคุณพ่อคุณแม่นักเรียนจะใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างไร ?


ภูมิหลังที่มาของปัญหา : ก่อนที่จะมาเข้าโรงเรียนเด็กจะอยู่กับพ่อแม่  ผู้ปกครองที่ทำให้เขารู้สึกได้รับความรัก  ความอบอุ่นและความปลอดภัย  เมื่อถึงเวลาที่ต้องมาเข้าโรงเรียนเด็กต้องเจอกับสถานที่ใหม่  ผู้คนที่ไม่รู้จักไม่คุ้นเคย  จึงทำให้เด็กกลัวและไม่ไว้วางใจ  ประกอบกับที่บ้านจะมีผู้ปกครองคอยดูแลจัดการให้ทุกอย่าง  แต่เมื่อมาที่โรงเรียนเด็กจะต้องช่วยเหลือตัวเอง  ในความที่เด็กยังมีพัฒนาการที่ไม่สามารถที่จะทำหลายๆ อย่างให้ตัวเองจึงทำให้ไม่มั่นใจ  ก็จะแสดงออกทางอารมณ์และพฤติกรรมหลายๆ อย่าง  เช่น  การร้องไห้  การทำลายสิ่งของ  ทำร้ายผู้อื่น  ไม่อยากมาโรงเรียน  งอแง  สร้างเงื่อนไขของการไม่มา  เป็นต้น  แต่ทั้งหมดที่ว่ามานั้นก็เพราะว่าเด็กวัยนี้กลัวการที่ต้องพลัดพรากจากคนที่รักนั้นเอง
ดังนั้นจึงเป็นสิ่งสำคัญที่โรงเรียน  และครูจะต้องออกแบบการเรียนรู้ให้กับเด็กเพื่อให้เขาเกิดความไว้วางใจ  สามารถช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันได้ อยู่กับผู้อื่นได้  รวมทั้งเรียนรู้อย่างมีความสุข   ครูจึงต้องออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่เหมาะกับวัย  กับพัฒนาการ  และน่าสนใจสำหรับเด็กในวัยนี้  นั้นก็คือใช้สิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่อยู่รอบตัวของเขาเป็นสื่อได้แก่สัตว์ชนิดต่างๆ  เพราะสัตว์กับคนจะเชื่อมโยงและเทียบเคียงกันได้ง่าย




ปฏิทินการเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based   Learning)
หน่วย : “ใครเอ่ย
ระดับชั้นอนุบาล 1  (Quarter 1) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558




Week

Input

Process

Output

Outcome
1
14 – 15
.ค. 58
โจทย์ :
- สร้างฉันทะในการเรียนรู้

Key  Questions
- นักเรียนเห็นอะไร ?
- ที่โรงเรียนกับที่บ้านเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
Wall  Thinking : ใบงานภาพวาดระบายสีโรงเรียนของเรา
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
- นิทานเรื่อง “ช้างเบิ้มมาโรงเรียน”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ช้างเบิ้มมาโรงเรียน” เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนอยากมาโรงเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ โรงเรียนของเราและเชื่อมโยงเข้าสู่สถานที่ต่างๆ ภายในห้องเรียนและอาคารอนุบาล
 - สถานที่ที่ภายในและรอบๆ อาคารเรียน
- บริเวณรอบๆ โรงเรียน
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งต่างๆ รอบบริเวณโรงเรียน

ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่พบเห็นจากการเดินสำรวจรอบๆ บริเวณโรงเรียน
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานเรื่อง “ช้างเบิ้มมาโรงเรียน”

ชิ้นงาน
- ภาพวาดระบายสีโรงเรียนของเรา
- ปั้นดินน้ำมันรูปสัตว์ต่างๆ ที่พบเห็นในบริเวณโรงเรียน

ความรู้
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับข้อตกลงของห้องเรียนและสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเดินสำรวจและการฟังนิทาน รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิต ประจำวันของตนเองได้
- การคิดสร้างสรรค์ทำชิ้นงาน/ภาระงาน ปั้นดินน้ำมันรูปสัตว์ต่างๆ ที่พบเห็นในบริเวณโรงเรียนตามจินตนาการ
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้
ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่มและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
 - กระตือรือร้นในการเรียนรู้มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
2
18 – 22
พ.ค. 58

โจทย์ :
- สร้างฉันทะในการเรียนรู้

Key  Questions
- นักเรียนรู้จักสถานที่ในโรงเรียนที่ไหนบ้าง ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
Wall  Thinking : ใบงานภาพวาดตัวเรา
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานนกฮูกจากแกนกระดาษทิชชู
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
- เพลง “โรงเรียนน่าอยู่”
- เพลง “อาบน้ำซู่ซ่า”
- นิทานเรื่อง “จ่อยไม่อยากไปโรงเรียน”
- นิทานเรื่องหนูปูตื่นสาย
- นิทานเรื่องหมีอ้วนจอมเกเร
- นิทานเรื่องกระต่ายน้อยมอมแมม

- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “โรงเรียนน่าอยู่”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “จ่อยไม่อยากไปโรงเรียน” เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนอยากมาโรงเรียน ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ถ้านักเรียนเป็นจ่อยจะเป็นอย่างไร รู้สึกอย่างไร?
- ครูเล่านิทานเรื่อง “หนูปูตื่นสาย” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่การปฏิบัติตามวิถีของโรงเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ถ้านักเรียนเป็นหนูปูจะทำอย่างไร?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ฟังจากนิทาน ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“คิดว่าทำไมเราต้องมาโรงเรียน ?”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “หมีอ้วนจอมเกเร” เพื่อสร้างแรงบันดาลใจการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “อาบน้ำซู่ซ่า”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “กระต่ายน้อยมอมแมม” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่การช่วยเหลือและความสะอาดของตนเอง
- ครูและนักเรียนร่วมสนทนาทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการทำกิจกรรมร่วมกันตลอดทั้งสัปดาห์
- Show and Share ประดิษฐ์นกฮูกจากแกนกระดาษทิชชู

ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปฏิบัติตามวิถีของโรงเรียน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงและนิทานที่ได้ฟัง

ชิ้นงาน
- พับกระดาษรูปหัวเป็ดและต่อเติมตามจินตนาการ
- ประดิษฐ์นกฮูกจากแกนกระดาษทิชชู
- ปั้นดินน้ำมันรูปหมีอ้วน
- ภาพวาดตัวเรา

ความรู้
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวิถีของโรงเรียน  สามารถปรับตัวและร่วมกิจกรรมกับผู้อื่นได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังนิทาน รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-  สามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนรู้และอยากเรียนรู้
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้ อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
   - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
-33
25-29
 .. 58
โจทย์ :
- สร้างฉันทะในการเรียนรู้

Key  Questions
นักเรียนจะช่วยเหลือตัวเองอย่างไร ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
Wall  Thinking : ใบงานปะ ติด ภาพสัตว์
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์กรอบรูป
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
- เพลง “แปรงฟัน”
- เพลง “สวัสดี”
- นิทานเรื่องคุณฟองฟันหลอ
- นิทานเรื่องของขวัญอันล้ำค่า
- นิทานเรื่องใครคือคนเก่ง
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “แปรงฟัน”
 - ครูเล่านิทานเรื่อง “คุณฟองฟันหลอ” เพื่อให้นักเรียนเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมในแต่ละวัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ของขวัญอันล้ำค่า” เพื่อให้นักเรียนเห็นความเชื่อมโยงเข้าสู่การให้ความรักต่อเพื่อนและช่วยผู้อื่นด้วยความเต็มใจ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนชอบสัตว์ตัวไหนในเรื่อง เพราะอะไร ?
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “สวัสดี”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ใครคือคนเก่ง” เพื่อให้นักเรียนเห็นความเชื่อมโยงความเคารพและพูดจาสุภาพ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ตัวละครมีใครบ้าง?” “เกิดอะไรขึ้นกับแตงโม รู้สึกอย่างไร ?
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งต่างๆรอบบริเวณโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนเห็นความเชื่อมโยงเข้าสู่หน่วย “....................”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเห็นอะไร และรู้สึกอย่างไร?
- ครูและนักเรียนร่วมสนทนาทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการทำกิจกรรมร่วมกันตลอดทั้งสัปดาห์
- Show and Share ประดิษฐ์กรอบรูป


ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมในแต่ละวัน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงและนิทานที่ได้ฟัง

ชิ้นงาน
- ปะ ติด ภาพสัตว์
- พับสีตามจินตนาการ
- ประดิษฐ์กรอบรูป
- ปั้นดินน้ำมันรูปสัตว์ที่สนใจ



ความรู้
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวิถีของโรงเรียน  สามารถปรับตัวและร่วมกิจกรรมกับผู้อื่นได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการสังเกต ฟังนิทานและเพลง รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิต ประจำวันของตนเองได้
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะการสังเกต
 สามารถตอบ – คำถามหลัง คาดเดาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฟังนิทานและเพลง
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน

4
1 – 5
มิ.. 58
โจทย์ : สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต

Key  Questions
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าสิ่งไหนเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต?เครื่องมือคิด
Brainstorms : นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตเพื่อ เชื่อมโยงสู่ตัวเรา
Wall  Thinking : ใบงานวาดภาพตัวเอง
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์ภาพสัตว์ 2 มิติ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
 - นักเรีย
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- เพลง “ลองทายดูซิ”
- เกม “กล่องปริศนา”  
- เกม “ทายซิใครเอ่ย”  
- นิทานเรื่อง ตัวเรา
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
 - ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “ลองทายดูซิ”
 - ครูพานักเรียนเล่นเกม “กล่องปริศนา”  โดยให้นักเรียนทายสิ่งของที่อยู่ในกล่อง เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูพานักเรียนเล่นเกม “ทายซิใครเอ่ย”  โดยให้นักเรียนทายสิ่งของที่เป็นเงา เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งไม่มีชีวิต
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ ตัวเรา ” เพื่อให้นักเรียนเห็นความเชื่อมโยงสู่สิ่งมีชีวิตอื่น
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูและนักเรียนสังเกตใบหน้า ท่าทางของตัวเอง  เพื่อน และครูในอิริยาบถต่างๆ พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิดเพื่อกระตุ้นการอยากเรียนรู้เรื่องตัวเรา
- ครูและนักเรียนร่วมสนทนาทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการทำกิจกรรมร่วมกัน
- Show and Share ประดิษฐ์ภาพสัตว์ 2 มิติ

ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวเราและสิ่งมีชีวิตอื่น

ชิ้นงาน
- ประดิษฐ์ภาพสัตว์ 2 มิติ
- ปั้นสิ่งของที่ไม่มีชีวิต
- ใบงานวาดภาพตัวเอง

ความรู้
เกิดความกระหายใคร่รู้ต่อสิ่งต่างๆ เข้าใจลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการสังเกต ฟังนิทานและเล่นเกม “กล่องปริศนา”   รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะการสังเกต
- สังเกตภาพความเหมือนหรือความแตกต่างของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิตอื่นๆ
- สามารถตอบ – คำถามแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวเราและสิ่งมีชีวิตอื่นได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครู หรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่ชีวิต เพื่อเชื่อมโยงสู่ตัวเราได้

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเอง
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน

5
8 – 12
มิ.. 58
โจทย์ :
วงจรชีวิต / การเจริญเติบโต Key  Questions
คนกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ มีการเจริญเติบโตที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?

เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวงจรชีวิตของสิ่งมีชีวิต่างๆ
Think Pair Share: การประกอบอาหารให้หมู
Blackboard  Share : การเจริญเติบโต
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานปะติดรูปหน้าหมู
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอการเกิดของหมู สัตว์อื่นๆและคน
- นิทานเรื่อง “ผีเสื้อแสนสวย”
- วัตถุดิบในการประกอบอาหาร

- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอเรื่อง “การเกิดของหมู สัตว์อื่นและคน” เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการเกิดของหมู, สัตว์อื่นและคน
 - ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ดู
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ผีเสื้อแสนสวย” เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับวงจรชีวิตของสัตว์อื่น ๆ
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวงจรชีวิต / การเจริญเติบโตของหมูสัตว์อื่น โดยครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
 - นักเรียนนักเรียนคิดว่าหมูมีการเจริญเติบโตอย่างไรบ้าง?
- นักเรียนคิดว่าสัตว์อื่นๆ ที่นักเรียนรู้จักมีการเจริญเติบโตอย่างไรบ้าง
?
- ครูนำภาพโปสเตอร์มาให้นักเรียนสังเกต
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับภาพที่ดู
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับวงจรชีวิต / การเจริญเติบโต
- Show and Share ปะติดรูปหน้าหมู

ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวงจรชีวิต / การเจริญเติบโตของคนและสัตว์อื่น
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคลิปวีดีโอ “การเกิดของหมู”
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประกอบอาหารให้หมู

ชิ้นงาน
- ปะติดรูปหน้าหมู
- ปั้นดินน้ำมันวงจรชีวิตของสัตว์ที่นักเรียนรู้จัก
- วาดภาพวงจรชีวิตของคน

ความรู้
  สามารถอธิบายวงจรชีวิต / การเจริญเติบโตของหมูและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจกวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- การคิดวิจารณญาณ  โดยพูด อธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับความเหมือน / แตกต่างระหว่างการเกิดของหมูและสิ่งมีชีวิตอื่น
 - คิด วัด ตัก ตวง ในการประกอบอาหารให้หมู
-  คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้
ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสังเกต
- สังเกตความเหมือนความแตกต่างสิ่งต่างๆ โดยรวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- สังเกตการวัด ตัก ตวง ในการประกอบอาหารให้หมู
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครูผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน

6
15 – 19
 มิ.. 58-

โจทย์ : โครงสร้างอวัยวะ / ส่วนประกอบ / หน้าที่

Key  Questions
ทำไมคนต้องมีแขนทั้งสองข้าง ถ้ามีข้างเดียวจะเป็นอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างของคน, สัตว์ และพืช / หน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายWall  Thinking : ใบงานระบายสีภาพรูปร่าง ลักษณะของคน พร้อมเขียนคำศัพท์ประกอบชื่ออวัยวะ
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์ดอกไม้จากนิ้วมือ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
 - นักเรีย
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คำคล้องจองBody ร่างกาย
- นิทานเรื่อง ปาก
- ภาพโปสเตอร์
- ผัก ผลไม้ต่างๆ
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนท่องคำคล้องจอง “Body ร่างกาย”
 - ครูเล่านิทานเรื่อง “ปากเพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะของอวัยวะในร่างกาย
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะของคน โดยครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “ร่างกายของเราประกอบด้วยอวัยวะส่วนใดบ้าง?”
- ครูนำภาพโปสเตอร์รูปร่าง ลักษณะของสัตว์อื่นๆ มาให้นักเรียนสังเกต
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนา ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะ และหน้าที่ของอวัยวะของสัตว์ต่างๆ โดยครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด- หมูกับกระบือมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร / เพราะอะไร ?
- ปลาใช้อะไรหายใจ / ทำไมถึงใช้อวัยวะส่วนนั้น ?
- ครูนำผัก ผลไม้ต่างๆ (ถั่วฝักยาว ชมพู่ พริก กล้วย ฯลฯ)มาให้นักเรียนสังเกต
  - นักเรียนแยกประเภทของอวัยวะส่วนต่างๆ ตามความเข้าใจของตนเอง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูและนักเรียนทดลองปิดตาทำกิจวัตรประจำวัน เพื่อให้นักเรียนเห็นความเชื่อมโยงของอวัยวะในร่างกาย
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับโครงสร้างของคน, สัตว์ และพืช / หน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายที่เรียนมาในสัปดาห์นี้
- Show and Share  ประดิษฐ์ดอกไม้จากนิ้วมือ

ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างของคน, สัตว์ และพืช / หน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการทดลองปิดตาทำกิจวัตรประจำวัน

ชิ้นงาน
- ใบงานระบายสีภาพรูปร่าง ลักษณะของหมูพร้อมเขียนคำศัพท์ประกอบชื่ออวัยวะ
- ปั้นดินน้ำมันรูปสัตว์ที่ชอบ
- ประดิษฐ์ดอกไม้จากนิ้วมือ


ความรู้
เข้าใจโครงสร้างของคน บอกลักษณะ หน้าที่และประโยชน์ของอวัยวะส่วนต่างๆ ภายในร่างกายได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการสังเกต ฟังนิทานและดูภาพโปสเตอร์ รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะการสังเกต
- สังเกตภาพความเหมือนหรือความแตกต่างของคนกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
- สามารถตอบ – คำถามหลัง คาดเดาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการทดลองปิดตาทำกิจวัตรประจำวัน
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องโครงสร้างอวัยวะ / ส่วนประกอบ / หน้าที่ของคน สัตว์ และพืชได้

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
7
22 – 26
 มิ.. 58
โจทย์ :การดูแลร่างกาย

Key  Questions
  ทำอย่างไรร่างกายของนักเรียนถึงจะแข็งแรง?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาร่างกายให้แข็งแรง และปลอดภัย
Wall  Thinking : ใบงานระบายสีร่างกาย
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์แว่นตาหรรษา
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง “ ปลอดภัยไว้ก่อน ”
- เพลง “อาบน้ำ”
- ภาพโปสเตอร์
- คลิปวีดีโอเรื่อง “อันตรายจากการเล่น และการกิน”
- ร้องเพลง “แปรงสิแปรงฟัน”
- แบบจำลองฟัน

- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ ปลอดภัยไว้ก่อน ” เพื่อให้นักเรียนเห็นความเชื่อมโยงสู่การดูแลรักษา
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูและนักเรียนร้องเพลง “อาบน้ำ”
- นักเรียนสังเกตภาพโปสเตอร์การทำความสะอาดอวัยวะส่วนต่างๆ เช่น มือ ฟัน ร่างกาย
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำความสะอาดอวัยวะส่วนต่างๆ โดยครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “เราจะดูแลรักษาอวัยวะส่วนต่างๆ ได้อย่างไรบ้าง?”
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอเรื่อง “อันตรายจากการเล่น และการกิน”เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการเล่นและการกิน
 - ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ดู
- ครูและนักเรียนร้องเพลง “แปรงสิแปรงฟัน”
- ครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับเนื้อเรื่องของเพลง
- ครูให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาสาธิตการแปรงฟัน ล้างมือให้เพื่อนๆ สังเกต
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับการดูแลรักษาร่างกายที่เรียนมาในสัปดาห์นี้
- Show and Share  ประดิษฐ์แว่นตาหรรษา

ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาร่างกายให้แข็งแรง และปลอดภัย

ชิ้นงาน
- ประดิษฐ์แว่นตาหรรษา
- ปั้นดินน้ำมันรูปการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกาย
- ใบงานระบายสีร่างกาย

ความรู้
สามารถดูแลรักษาอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนสามารถดูแลรักษาตัวเองให้ปลอดภัยจากการทำกิจวัตรหรือการเล่นได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
 - คิดวิจารณญาณโดยการอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับการดูแลรักษาร่างกายของตัวเองและการกิน การเล่น ได้อย่างปลอดภัย
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสังเกต
สังเกตจากตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำความสะอาดอวัยวะส่วนต่างๆ
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครูผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
8
29 มิ.ย. -     3 .. 58
โจทย์ : บทบาท / หน้าที่ของตนเอง

Key  Questions
นักเรียนคิดว่าคนแต่ละวัยทำหน้าที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตนเอง และผู้อื่น
Wall  Thinking : ใบงานเขียน Mind Mapping เรามาโรงเรียนทำไม
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์หุ่นมือโตขึ้นหนูอยากเป็น...?
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- บุคคลในโรงเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- สถานที่ภายในโรงเรียน
- นิทานเรื่อง “คุณแม่นักซักผ้า”
- เพลง “เด็กดี”
- เพลง “ตำรวจจ๋า”
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
 - ครูเล่านิทานเรื่อง “คุณแม่นักซักผ้า” เพื่อให้นักเรียนเข้าใจบทบาทและหน้าที่ของผู้อื่นมากขึ้น
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูและนักเรียนร้องเพลง “เด็กดี”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเนื้อเรื่องที่ร้อง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตัวเอง โดยครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด - นักเรียนมีหน้าที่อะไรบ้าง ?
- นักเรียนสังเกตการณ์ทำงานของบุคคลต่างๆ ภายในโรงเรียน
- ครูเล่านิทานเกี่ยวกับบุคคลและอาชีพต่างๆ  เช่น  ตำรวจ  พยาบาล  ครู   ทหาร  ฯลฯ (เล่าไปวาดไป) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของบุคคลและอาชีพต่างๆ และเห็นความสำคัญมากขึ้น
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับการบทบาท หน้าที่ของตนเอง และผู้อื่นที่เรียนมาในสัปดาห์นี้
- Show and Share  ประดิษฐ์หุ่นมือโตขึ้นหนูอยากเป็น...?

ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตนเอง และผู้อื่น

ชิ้นงาน
- ปั้นดินน้ำมันรูปกิจกรรมที่หนูชอบทำกับแม่
- เขียน Mind Mapping เรามาโรงเรียนทำไม
- ประดิษฐ์หุ่นมือโตขึ้นหนูอยากเป็น...?

ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตัวเองและผู้อื่นได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
 - คิดวิจารณญาณโดยการอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตนเอง และผู้อื่น
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสังเกต
สังเกตจากตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตนเอง และผู้อื่น
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครู และผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
9
6 – 10
.. 58
โจทย์ : การปฏิบัติตนต่อสถานที่ต่างๆ

Key  Questions
ทำไมเราต้องสวัสดีทักทายกัน ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
  นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น เช่น พ่อ – แม่, ครู, เพื่อน / การปฏิบัติตนต่อสถานที่ต่างๆ เช่น บ้าน โรงเรียน
Wall  Thinking : ใบงานวาดภาพระบายสีสถานที่ต่าง ๆ
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์กระต่ายน้อย
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- บุคคลในโรงเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- สถานที่ภายในโรงเรียน
- เพลง “สวัสดี”
- นิทานเรื่อง “ตั๊กแตนผู้ซื่อสัตย์”
- ปริศนาคำทายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “สวัสดี”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเนื้อเรื่องที่ร้อง
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ตั๊กแตนผู้ซื่อสัตย์” เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกับผู้อื่นมากขึ้น
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูทายปริศนาคำทายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
เชื่อม : ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ เช่น บ้าน โรงเรียน โดยครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะปฏิบัติตนต่อสถานที่ต่างๆ เช่น ห้องเรียน, ห้องครัว, ห้องสมุดอย่างไร”
- ครูและนักเรียนเดินสำรวจสถานที่ต่างๆ เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงการปฏิบัติตนต่อสถานที่ต่างๆภายในโรงเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนและสถานที่ต่างๆ ที่เรียนมาในสัปดาห์นี้
- Show and Share  ประดิษฐ์กระต่ายน้อย

ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น เช่น พ่อ – แม่, ครู, เพื่อน / การปฏิบัติตนต่อสถานที่ต่างๆ เช่น บ้าน โรงเรียน

ชิ้นงาน
- ประดิษฐ์กระต่ายน้อย
- ปั้นดินน้ำมันรูป “เล่นด้วยกันกับเพื่อน”
- วาดภาพระบายสีสถานที่ต่าง ๆ
ความรู้
สามารถปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น เช่น พ่อ แม่ เพื่อน ครู ฯลฯ  และตามสถานที่ต่างๆ เช่น บ้าน โรงเรียนได้อย่างเหมาะสม

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
 - คิดวิจารณญาณโดยการอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น เช่น พ่อ – แม่, ครู, เพื่อน / การปฏิบัติตนต่อสถานที่ต่างๆ เช่น บ้าน โรงเรียน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสังเกต
สังเกตจากตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น เช่น พ่อ – แม่, ครู, เพื่อน / การปฏิบัติตนต่อสถานที่ต่างๆ เช่น บ้าน โรงเรียนทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครู และผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
10
13 – 17
.. 58
โจทย์ : ความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิตอื่น
- คน
- พืช
- สัตว์

Key  Questions
คนมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่นอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
  นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิตอื่น
Wall  Thinking : ใบงานเขียน Flow Chart ขั้นตอนการประกอบอาหาร
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานเขียน Flow Chart ขั้นตอนการประกอบอาหาร
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู - นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- เพลง “ต้นไม้คือชีวิต”
- นิทานเรื่อง “พระราชาบนดวงดาวสีเขียว”
- นิทานเรื่อง “ปลาดาวบนชายหาด”
- นิทานเรื่อง “สามัคคีไม่มีทะเลาะ”
- อุปกรณ์ประกอบอาหาร
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร้องเพลง “ต้นไม้คือชีวิต”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “พระราชาบนดวงดาวสีเขียว” เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิต(พืช)
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ปลาดาวบนชายหาด” เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิต(สัตว์)
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูเล่านิทานเรื่อง “สามัคคีไม่มีทะเลาะ” เพื่อให้นักเรียนเข้าใจถึงการอยู่ร่วมกัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเมนูอาหารที่มีส่วนประกอบจากสัตว์และพืช โดยครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
- นักเรียนคิดว่าเมนูอาหารมีส่วนประกอบอะไรบ้าง ?
- นักเรียนจะประกอบอาหารอย่างไรให้น่ารับประทาน และปลอดภัย ?
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่นที่เรียนมาในสัปดาห์นี้
- Show and Share  เขียน Flow Chart ขั้นตอนการประกอบอาหาร

ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิตอื่น
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเมนูอาหารที่มีส่วนประกอบจากสัตว์และพืช

ชิ้นงาน
- ปะ ติดภาพต้นไม้
- เขียน Flow Chart ขั้นตอนการประกอบอาหาร
- ปั้นดินน้ำมันรูปตัวเองและสัตว์เลี้ยงที่ชื่นชอบ
ความรู้
สามารถพูดอธิบายความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิตอื่นๆได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- มีทักษะพื้นฐานในประกอบอาหาร เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
- เลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
 - คิดวิจารณญาณโดยการอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น  คน พืช สัตว์ ได้
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสังเกต
สังเกตจากตอบคำถามและแสดงความความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น  คน พืช สัตว์
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครู และผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
11
20 – 24
 .. 58
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้
Key  Questions
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ หน่วย “............” ?
- นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับหน่วย “...........”ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ หน่วย “ ........”
Wall  Thinking :                 
 ใบงานเขียน  Mind  Mapping  สิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ หน่วย “ ....................”
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คำคล้องจอง “Body ร่างกาย”
- เพลง “ร่างกายของฉัน”
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนท่องคำคล้องจอง “Body ร่างกาย”
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร ถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร?
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด  “ นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวเรา และทบทวนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนมา
- ครูและนักเรียนร้องเพลง “ร่างกายของฉัน”พร้อมทำท่าทางประกอบ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับหน่วย ...........ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร ?
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดนิทรรศการ/การแสดง
สรุปองค์ความรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ตลอดทั้งสัปดาห์นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?
- ครูและนักเรียนร่วมทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาและแลกเปลี่ยน คำถาม ข้อสงสัยจากสิ่งที่รู้แล้ว
และสิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วย ใครเอ่ย  เพื่อให้เกิดความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวอีก
ภาระงาน
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
-แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับตัวเรา
-การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ
หน่วย “................” ให้ผู้อื่นเข้าใจ

 ชิ้นงาน
-ใบงานเขียน web สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

ความรู้
สามารถปรับตัวเข้ากับวิถีและไว้วางใจต่อเพื่อน   ครู  สถานที่  และบุคคลที่อยู่ในโรงเรียน  รวมทั้งมีพัฒนาการทั้ง  ด้านที่สามารถช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวันได้ทั้งการเล่น  การแต่งกาย  การกิน  การนอน  การทำงาน  ฯลฯ  เข้าใจความสัมพันธ์ของตนเองกับสิ่งต่างๆ ได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจกวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากนิทานและเพลง รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสังเกต
สังเกตความเหมือนความแตกต่างสิ่ง
ต่างๆ โดยรวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครู ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน






สิ่งที่รู้แล้ว และสิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยโครงงาน :ใครเอ่ย
ระดับชั้นอนุบาล 1 Quarter 1  ปีการศึกษา 2558
สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
ตาของคนเหมือนกับตาพี่ไก่  (ไดมอนด์)
คนมีปากเอาไว้พูด  (กาแฟ,ออม)
ร่างกายของเรามีแขน (ภูมิ)
ร่างกายของเรามีศีรษะและมีเส้นผม (อุ้ม)
ตามีสีดำกับสีขาว (วันใหม่)
มือเรามีเล็บ (พลอย)
ตาสีดำเอาไว้มองคนอื่น (น็อต)
ร่างกายมีตา หู จมูก (หนูยิ้ม)
ขาของเราเดินได้ (สายไหม)
มีจมูกเอาไว้หายใจและได้กลิ่น (อิม)
ในร่างกายของเรามีข้าวอยู่ในท้อง (โช๊ค)
มีตามีคิ้ว (สาว)
มี 2 ขาเอาไว้เดิน (หนูดี,พลอยใส)
ร่างการของเรามีตามีผมสีดำ (กาย)
มีมือกับนิ้วมือเอาไว้กินข้าว (กร)
มีมือไว้กินข้าวกินแล้วต้องแปรงฟันก่อนแปลงลิ้นด้วยเดี๋ยวฟันจะผุต้องนอนแล้วเราก็แต่ตัวมาโรงเรียน (ใบพลู)


ทำไมคิ้วเราถึงเป็นสีดำ (ไดมอนด์)
ทำไมต้องสระผม (กาแฟ)
ทำไมต้องมีผม (ข้าวหอม,สาว)
ทำไมเราถึงมีแก้ม (ออม)
ทำไมคนต้องมีแขน (ภูมิ,สายไหม)
ทำไมหูต้องโผล่ออกมาจากศีรษะ (อุ้ม)
ทำไมเราถึงมีปาก (วันใหม่,กาย)
ทำไมต้องอาบน้ำ (พลอย)
ทำไมต้องมีหู ( น็อต)
ทำไมถึงมีตัวและนิ้วออกมาจากตัวเรา (หนูยิ้ม)
ทำไมแขนถึงมีนิ้วมือ (อิม)
ทำไมผู้ชายถึงผมสั้น (โช๊ค)
ทำไมเราถึงกินข้าว (หนูดี)
ทำไมหนูต้องมาโรงเรียน (พลอยใส)
ทำไมขาถึงเดินได้ (กร)
หนูเกิดมาได้อย่างไร (น้องใบพลู)






ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ
หน่วย   ใครเอ่ย ระดับชั้นอนุบาล 1  ภาคเรียนที่ 1 / 2558  Quarter  1
สาระการเรียนรู้
พัฒนาการ
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
สาระ
1.สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ เผชิญกับปัญหา
2.  เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
 - ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
 - สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
3. สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
4. วงจรชีวิต/การเจริญเติบโต
- การเกิด
- การเจ็บ
- การแก่
- การตาย
5. โครงสร้างของอวัยวะ
- หน้าที่
- รูปร่างลักษณะ
6. การดูแลร่างกาย
- การทำความสะอาดร่างกาย
- การออกกำลังกาย
- การรับประทานอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย
- การพักผ่อนนอนหลับ
7. บทบาทหน้าที่ของตนเอง
8. การปฏิบัติตน/การอยู่ร่วมกันกับบุคคลอื่น
9. ความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิตอื่น
- คน
- สัตว์
- พืช
10. สรุปองค์ความรู้หลังเรียน













                         

                       


ด้านร่างกาย
    ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย  ประดิษฐ์ชิ้นงาน  ได้แก่  
ขีดเขียน  วาดภาพบุคคลระบายสีไม้สีเทียนเล่นกับสีน้ำ   เช่น เป่าสี  พับสีปั้นดินน้ำมันฉีก- ปะ กระดาษเป็นรูปครอบครัวและสิ่งมีชีวิตอื่นต่อเติมภาพตามจินตนาการประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ  ของร่างกาย การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า

พัฒนาการทางด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1  ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย  สุขนิสัยที่ดี  และรู้จักรักษาความปลอดภัย
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่วและทรงตัวได้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เล่นและออกกำลังกาย
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3  .ใช้มือได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ด้านอารมณ์และจิตใจ
     ผู้เรียนมีวินัย  ความรับผิดชอบ  ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน  ทำงานจนสำเร็จ  และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง  ได้แก่  การShow and Shareผลงานในแต่ละสัปดาห์  การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด  การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
 -  ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความ
เต็มใจ  เช่น  การจัดเก็บอุปกรณ์ เก็บกวาดห้องเรียน อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน
 -  ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย ได้แก่  มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง 
สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูด  มีมารยาทในการรับประทานอาหาร  ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
-  ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
    -  ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข ได้แก่  การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจ  การแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ

พัฒนาการทางด้านอารมณ์  จิตใจ
มาตรฐานที่ 3  มีสุขภาพจิตดี  และมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่  3.1  แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่  3.2  มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่  3.3  มีความเห็นอก เห็นใจผู้อื่น
มาตรฐานที่  4  ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ  ดนตรี  และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่  4.1  สนใจและมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี  และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่  4.2  แสดงออกทางด้านศิลปะ  ดนตรี  และการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
มาตรฐานที่  5  มีคุณธรรม  จริยธรรม  และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่  5.1  มีความรับผิดชอบ
ตัวบ่งชี้ที่  5.2  ซื่อสัตย์สุจริตและรู้ถูกรู้ผิด
ตัวบ่งชี้ที่  5.3  มีความเมตตากรุณา  มีน้ำใจและ
ช่วยเหลือแบ่งปัน
ตัวบ่งชี้ที่  5.4  ประหยัด อดออม  และพอเพียง
ด้านสังคม
    - ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม  เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข 
   -  ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
   -  ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี  
   -  ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู  เพื่อนและผู้อื่น

พัฒนาการด้านสังคม 
มาตรฐานที่  6  มีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวบ่งชี้ที่  6.1  มีวินัยในตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่  6.2  ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ตัวบ่งชี้ที่  6.3  ระหวังภัยจากคนแปลกหน้าและสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย
มาตรฐานที่ที่  7  รักธรรมชาติ  สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่  7.1  ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่  7.2  มีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
ตัวบ่งชี้ที่  7.3  รักความเป็นไทย
มาตรฐานที่  8  อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่  8.1  ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวบ่งชี้ที่  8.2  มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่  8.3  ปฏิบัติตนเบื้องในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม  ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ด้านสติปัญญา
    -  ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
    -  ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
    -  ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
เกี่ยวกับครอบครัว และสิ่งมีชีวิตอื่นจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจได้
    -  ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเป็นเรื่องราวกับผู้อื่นได้
    -  ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
    - ผู้เรียนสามารถนับ ตัก ตวงเครื่องปรุงอย่างง่ายๆในการประกอบอาหารได้

พัฒนาการด้านสติปัญญา    
มาตรฐานที่  9  ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่  9.1  สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวบ่งชี้ที่  9.2  อ่าน  เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
มาจรฐานที่  10  มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่  10.1  มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ตัวบ่งชี้ที่  10.2  มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
ตัวบ่งชี้ที่  10.3  มีความสามารถในการคิดรวบยอด
มาตรฐานที่  11  มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่  11.1  เล่น / ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่  11.2  แสดงท่าทาง / เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
มาตรฐานที่  12  มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้  และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่  12.1  มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่  12.2  มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ 


Web  เชื่อมโยงหน่วย  “ใครเอ่ย”    กับพัฒนาการทั้ง  4  ด้าน
ด้านร่างกาย
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
  -  ขีดเขียน  วาดภาพ             
  -  ระบายสีไม้ สีเทียน  ฝนสี
  -  ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์
  - ฉีก  ปะ ตัด ติด
  - ขยำกระดาษ       
  - ตัดกระดาษตามเส้น
  - พับกระดาษ         
  - ต่อเติมภาพตามจินตนาการ
  - ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ / วัสดุเหลือใช้
  - ประกอบอาหาร  
  - เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี  พับสี ฉีดสี กลิ้งสี  พิมพ์สีฯลฯ
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- เล่นเครื่องเล่นสนาม
-  เล่นกีฬา  เกมการละเล่น  เช่น  การโยน-รับลูกบอล  เป็นต้น
-  การเคลื่อนไหวร่างกาย  เช่น  เคลื่อนไหวประกอบเพลง  ประกอบคำบรรยาย  เป็นต้น
-  กระโดดขาเดียว  กระโดดสองขา
-  การประดิษฐ์ชิ้นงาน  หรือการทดลอง
-  การเดิน  การวิ่ง  การกระโดด
-  การดึง  การดัน  การจับ  การขว้าง  การเตะ
-  การเลียนแบบท่าทางสัตว์ต่างๆ
ความสัมพันธ์มือ-ตา
-  การขีดเขียน   การวาดตามแบบ
-  การร้อย
-  การต่อบล็อก
-  การระบายสี
-  การติดกระดุม
-  การหยิบจับสิ่งของ
-  การเล่นเกม  กีฬา  เช่น  การรับ-การโยน
-  การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน เช่น  การรับประทานอาหาร  การแต่งกาย  การสวมใส่รองเท้า  ถุงเท้า  เป็นต้น
-  การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
ด้านอารมณ์-จิตใจ,  ด้านสังคม
-  การร้องเพลง  การท่องคำคล้องจอง  การทำท่าทางประกอบ
-  การฟังนิทาน  การเล่านิทาน
-  การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เช่น  เล่นกับเพื่อน  เล่นกับครู  เล่นเครื่องเล่น  ฯลฯ
-  การเล่น  การเก็บของเล่น
-  การแบ่งปัน   การรอคอย
-  การบอกความรู้สึก  ความต้องการ
-  การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
-  การรู้บทบาทหน้าที่
-  ฯลฯ

ด้านสติปัญญา
- การรับรู้และเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
-  การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง  5  ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ  รอบตัว
-  การใช้ภาษาสื่อความหมาย  และความคิด
-  การรู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ เช่น  สี  ขนาด  รูปร่าง  เป็นต้น
-  การจดจำชื่อสิ่งต่างๆ รอบตัว
-  การฝึกใช้อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ  ได้แก่  ตา  หู  จมูก  ลิ้น  และผิวหนัง
-  การสนทนาถาม-ตอบ
-  การอธิบาย  การนำเสนอสิ่งที่ทำหรือคิด
-  เกมการศึกษา
-  การทดลอง  ฯลฯ

 

เชื่อมโยงหน่วย  “ใครเอ่ย”   กับพัฒนาการสาระพื้นฐาน
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
วิทยาศาสตร์
การฟัง
-  ฟังนิทาน
-  ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
-  ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
-  ฟังและตอบคำถาม
-  การเป็นผู้ฟังที่ดี
-  การฟังและจำแนกเสียง  เช่น  เสียงสัตว์
การพูด 
-  บอกความต้องการ/ความรู้สึก
-  สนทนาถาม-ตอบ
-  อธิบายสิ่งที่เข้าใจ
-  ร้องเพลง  คำคล้องจอง
-  แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
-  เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว เหตุการณ์ที่ได้ฟัง  ได้เห็น  หรือประสบจริง
-  แต่งประโยคจำคำ / ภาพ
-  เล่าเรื่องตามภาพ
การอ่าน
- อ่านตามภาพ
-  อ่านท่าที  ท่าทาง  สีหน้า  ลักษณะต่างๆ
-  การอ่านคำตามภาพ / สัญลักษณ์
-  อ่านตามตัวอย่าง
-  การสะกดคำง่ายๆ  เช่น   แม่ ก กา
การเขียน
-  เขียนตามตัวอย่าง
-  เขียนตามจินตนาการ
-  การเขียนชื่อตนเอง ฯลฯ
การสังเกต  การจำแนก  การเปรียบเทียบ
-  การจำแนกความเหมือนความต่าง  มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ
-  การจัดหมวดหมู่ เช่น รูปร่าง รูปทรง ขนาด สี น้ำหนัก
-  การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
-  การนับจำนวน  ลำดับจำนวน  สัญลักษณ์แทนจำนวน
-  การรู้ค่าจำนวน
-  การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
-  เข้าใจตำแหน่งที่สัมพันธ์กัน
-  เข้าใจระยะ เช่น ใกล้ ไกล ตรงข้าม ระหว่าง
-  การเข้าใจทิศทาง เช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง
-  การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
-  การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
-  การลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กัน
-  ฤดูกาล
ทักษะการคิด
-  การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง  5
-  การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
-  ความคิดสร้างสรรค์
-  การคิดแก้ปัญหา
ทักษะการใช้ภาษา / การสื่อสาร
-  การฟัง
-  การพูด
-  การอ่าน
-  การเขียน
- ท่าทาง  สีหน้า  อารมณ์
การฟัง
-  ฟังคำสั่งเข้าใจ  ปฏิบัติตามได้  เช่น Sit down , Stan   up  เป็นต้น
-  ฟัง  เข้าใจความหมาย  สนทนาโต้ตอบได้  เช่น What  you  name ?  My name  is……..  What  is  this ? It’s a…….
What do  like ?  I  like  ……………
-  ร้องเพลง  เข้าใจความหมาย
การพูด
-  พูดสนทนาโต้ตอบ
-  บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น  เกี่ยวกับอวัยวะ  เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้  เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต / ไม่มีชีวิต ฯลฯ
การอ่าน
-  อ่านคำศัพท์จากภาพ
-  อ่านตามตัวอย่าง
- อ่าน A-Z
การเขียน
-  เขียน  A-Z
-  เขียนชื่อตัวเอง
-  เขียนคำตามตัวอย่าง
- เขียนประโยคตามตัวอย่าง
ทักษะการสังเกต
- ใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้ม กายสัมผัส
- เปรียบเทียบความเหมือนความต่างของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อนหลังของสิ่งต่างๆ
- จัดกลุ่มได้ตามเกณฑ์ง่ายๆ ที่กำหนดขึ้นเอง เช่น สี รูปร่าง รูปทรง ขนาด น้ำหนัก
ทักษะการตั้งคำถาม
ตั้งคำถามจากสิ่งที่สังเกตหรือสงสัยได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะการคาดเดาเหตุการณ์
คาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล มีความเป็นไปได้  ตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการทดลอง 
- เลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้อย่างเหมาะสม
- ทดลองตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะเก็บข้อมูล
วาดภาพสรุปขั้นตอนการทดลองตามความเข้าใจของตนเองและอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ทักษะการสรุปผล
- พูดสนทนาโต้ตอบ / นำเสนอผ่านภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้

ตารางวิเคราะห์เชื่อมโยงหน่วยสาระที่ควรเรียนรู้

ตัวเรา
เด็ก ควรรู้จักชื่อ  นามสกุล  รูปร่าง  หน้าตา  รู้จักอวัยวะต่างๆ วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาด  ปลอดภัย  การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ  เรียนรู้ที่จะเล่นและทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองคนเดียว  หรือกับผู้อื่น  ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น  ความรู้สึก  และมารยาทที่ดี
หน่วยสาระ
1.หน่วยร่างกาย
2. หน่วยเด็กดี
3. หน่วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
4. หน่วยเนื้อ  นม  ไข่
5. หน่วยอาหาร
7. หน่วยตาวิเศษ
8. หน่วยใครเอ่ย
9 .หน่วย ฟ.ฟัน
10. หน่วยฤดูกาล
11. หน่วยน้ำหนัก
12. หน่วยพืช
13. หน่วยหนูทำได้
14.หน่วยวันสำคัญ เช่น วันเข้าพรรษา วันแม่ ฯลฯ

บุคคลและสถานที่
เด็ก ควรมีโอกาสได้รู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว  สถานศึกษา  ชุมชน  รวมทั้งบุคคลต่างๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือมีโอกาสได้ใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำ วัน


หน่วยสาระ
1.  หน่วยครอบครัว
2.  หน่วยโรงเรียน
3.  หน่วยชุมชน
4.  หน่วยบุคคลสำคัญ
5.  หน่วยเมืองไทย
6.  หน่วยวันสำคัญ  เช่น  วันพ่อ  วันแม่  วันครู  วันเด็ก ฯลฯ
7. หน่วยเพื่อนบ้าน
8. หน่วยอาชีพ
9. หน่วยอาเซียน
10. หน่วยท่องเที่ยว
11. หน่วยนิทาน
12. หน่วยบ้านของเรา
13.หน่วยนักประดิษฐ์

ธรรมชาติรอบตัว
เด็ก ควรได้เรียนรู้สิ่งมีชีวิต  สิ่งไม่มีชีวิต  รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ  เช่น  ฤดูกาล  กลางวัน  กลางคืน  ฯลฯ



หน่วยสาระ
1.  หน่วยสัตว์
2.  หน่วยผีเสื้อ
3.  หน่วยน้ำ
4.  หน่วยพืช  ผัก  ผลไม้
5.  หน่วยดอกไม้
6.  หน่วยแมลง
7.  หน่วยกลางวัน  กลางคืน
8.  หน่วยโลกสวยด้วยมือเรา
9.  หน่วยฤดูกาล
10.  หน่วยไผ่
11. หน่วยเนื้อ  นม  ไข่
12. หน่วยอาหาร
13.หน่วยรุ้งกินน้ำ
สิ่งต่างๆ รอบตัว
เด็ก ควรได้รู้จักสี  ขนาด  รูปร่าง  รูปทรง  น้ำหนัก  ผิวสัมผัสของสิ่งต่างๆ รอบตัว  สิ่งของเครื่องใช้  ยานพาหนะ  และการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน



หน่วยสาระ
1.  หน่วยการคมนาคม
2.  หน่วยการสื่อสาร
3.  หน่วยพลังงาน
4.  หน่วยวิทยาศาสตร์
5.  หน่วยคณิตศาสตร์
6.  หน่วยเครื่องมือเครื่องจักร
7.  หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน
8.  หน่วยของเล่น  ของใช้
9. หน่วยอากาศ
10. หน่วยกลางวัน  กลางคืน
11. หน่วยขยะ
12. หน่วยฤดูกาล
13. หน่วยนักประดิษฐ์
14. หน่วยนิทาน



 

 





1 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ28 มกราคม 2565 เวลา 07:44

    Is The Best Bet In Casino - Worrione
    The Best Bet In Casino You can bet 1xbet korean on all major 바카라 사이트 casino games, such as poker, blackjack, roulette, craps, and so much more. If 제왕카지노 you're in the

    ตอบลบ